พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
พระสิบสอง เนื้อ...
พระสิบสอง เนื้อดิน จังหวัดลำพูน
พระสิบสอง จังหวัดลำพูน เป็นพระพิมพ์ขนาดใหญ่ เป็นศิลปะหริภุญไชย พบในกรุหลายวัดในจังหวัดลำพูนเเละจังหวัดระแวกใกล้เคียง
โดยผมได้รวบรวมข้อมูลที่นักโบราณคดีเเละนักประวัติศาสตร์ศิลปะได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับพระพิมพ์นี้เเละพระพิมพ์สกุลลำพูนไว้ดังนี้ครับ
- คติการสร้าง เเบบพุทธเถรวาท โดยจริงๆเเล้ว องค์เเทนพระพุทธเจ้ามีอยู่ 3 องค์ตรงกลางประทับในปราสาท(3 องค์ใหญ่ประทับในปราสาท) ซึ่งอาจเเทนพระทีปังกรพระพุทธเจ้า พระโคตมพุทธเจ้า เเละพระศรีอริยเมตไตรยส่วนอีกสององค์ด้านข้าง(นั่งชันเข่า) สันนิฐานว่าคือพระสาวก ส่วนองค์อื่นๆ เป็นองค์ประดับอยู่ตามชั้นเชิงของปราสาท
*หมายเหตุ พระพิมพ์นี้ถึงเเม้จะสร้างโดยเเทนพระพุทธเจ้าสามพระองค์ เเต่คติการสร้างคนละความหมายกับพระ"ตรีกาย" เนื่องจากเมืองหริภุญไชยขณะนั้นนับถือพระพุทธศาสนาเเบบเถรวาท เเต่ส่วนตัวผมเชื่อว่าการสร้างพระพิมพ์โดยใช้รูปแบบเดียวกันกับพระตรีกายก็ได้ เเล้วมาตีความหมายใหม่ให้เป็นเเบบเถรวาท
- ศิลปะแบบหริภุญไชย โดยได้รับอิทธิพลจากศิลปะเขมรหรือศิลปะลพบุรี โดยรูปแบบอาจมาจากพระพิมพ์ตรีกายประทับในซุ้มปรางค์แบบเขมรหรือลพบุรี เเละปรับเปลี่ยนตัวปราสาทเป็นเเบบศิลปะหริภุญไชย
- การกำหนดอายุ ข้อมูลของกรมศิลปากรให้ได้ข้อมูลว่า อยู่ในช่วงสมัยหริภุญไชย พุทธศตวรรษที่ ๑๗ - ๑๘ เเละนักประวัติศาสตร์ศิลปะก็สันนิฐานว่าไม่เก่าไปกว่าพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ซึ่งสอดคล้องกับจารึกที่พบในวัดเก่าของเมืองลำพูนที่ระบุศักราชไว้ช่วงนั้นเช่นกัน เช่น จารึกวัดดอนแก้ว มีใจความว่า "พระเจ้าสววาธิสิทธิ ทรงได้สร้างวัดนี้ คือ เชตวัน(อาจเป็นชื่อวัดดอนแก้วในยุคนั้น) ในปี พ.ศ.1762 เมื่ออายุ 26 ปี" ดังนั้นจึงเชื่อว่าการสร้างพระพิมพ์อาจอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าว คือมีอายุประมาณ 800 ปี ซึ่งอาจรวมไปถึงพระพิมพ์อื่นๆ เช่น พระรอด พระคง พระเปิม ด้วย
-อนึ่ง หลักฐานทางโบราณคดีเเละการสร้างพระพิมพ์ต่างๆในเมืองลำพูนเชื่อว่าไม่น่าจะเชื่อมโยงไปถึงพระนางจามเทวี เเละเอกสารเก่าสุดที่ได้กล่าวถึงพระนางจามเทวี คือ จามเทวีวงศ์ สันนิษฐานว่ารจนาราว พ.ศ. 1950 ถึง 2060 โดยเล่าย้อนไปถึงยุคของพระนางจามเทวีประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งห่างจากช่วงเวลาที่ประพันธ์ในเอกสารจามเทวีวงศ์ ประมาณ 800 ปี อีกทั้งเรื่องราวในการประพันธ์ ออกไปในเเนวเรื่องเล่า,ตำนาน,อิทธิปาฎิหารย์ ใช้อ้างอิงได้เพียงส่วนหนึ่งเท่านั้นครับ
- ขอขอบคุณข้อมูล ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ขอขอบคุณข้อมูลจาก กลุ่มงานเผยเเพร่เเละประชาสัมพันธ์ กรมศิลปากร
ผู้เข้าชม
668 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
บูชาแล้ว
โดย
swat
ชื่อร้าน
สุรินทร์ภักดี พระเครื่อง
ร้านค้า
surinpakdee.99wat.com
โทรศัพท์
0870081414
ไอดีไลน์
surinphakdee
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
686-2-299xx-x
พระพุทธชินราช เนื้อดิน กรุวัดบ
รูปหล่อ หลวงปู่เจียม วัดอินทรา
สมเด็จ เนื้อผง พิมพ์ใหญ่ วัดปร
พระกริ่งอังคีรส วัดราชบพิตร เน
หมูทอง กันภัย-มหาลาภ เนื้อทองเ
พระพิมพ์ซุ้มกอ หลวงพ่อเส้ง วัด
เหรียญหล่อโบราณ พระอุปคุต หลวง
เหรียญหลวงปู่เเฮม วัดศรีวาบริบ
เหรียญหลวงปู่ดุลย์ วัดบูรพาราม
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
บ้านอนุรักษ์พระเครื่องเมืองไทย
ep8600
NongBoss
อ้วนโนนสูง
บ้านพระสมเด็จ
ว.ศิลป์สยาม
บ้านพระหลักร้อย
kuakran
Classicpra
vanglanna
Oatbeaut
หริด์ เก้าแสน
นักเลงพระ
พบธรรม
TUI789
เจริญสุข
ชยันโต
ไอซ์ชัยนาท
Erawan
แมวดำ99
Poosuphan89
ตั้มบารมี
ฅนปีขาล
Zomlazzali
ติ๊กโนนสูง
Johnny amulet
fuchoo18
พญาครุฑ
ณัฐ อัมพวา
ภูมิ IR
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1240 คน
เพิ่มข้อมูล
พระสิบสอง เนื้อดิน จังหวัดลำพูน
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
พระสิบสอง เนื้อดิน จังหวัดลำพูน
รายละเอียด
พระสิบสอง จังหวัดลำพูน เป็นพระพิมพ์ขนาดใหญ่ เป็นศิลปะหริภุญไชย พบในกรุหลายวัดในจังหวัดลำพูนเเละจังหวัดระแวกใกล้เคียง
โดยผมได้รวบรวมข้อมูลที่นักโบราณคดีเเละนักประวัติศาสตร์ศิลปะได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับพระพิมพ์นี้เเละพระพิมพ์สกุลลำพูนไว้ดังนี้ครับ
- คติการสร้าง เเบบพุทธเถรวาท โดยจริงๆเเล้ว องค์เเทนพระพุทธเจ้ามีอยู่ 3 องค์ตรงกลางประทับในปราสาท(3 องค์ใหญ่ประทับในปราสาท) ซึ่งอาจเเทนพระทีปังกรพระพุทธเจ้า พระโคตมพุทธเจ้า เเละพระศรีอริยเมตไตรยส่วนอีกสององค์ด้านข้าง(นั่งชันเข่า) สันนิฐานว่าคือพระสาวก ส่วนองค์อื่นๆ เป็นองค์ประดับอยู่ตามชั้นเชิงของปราสาท
*หมายเหตุ พระพิมพ์นี้ถึงเเม้จะสร้างโดยเเทนพระพุทธเจ้าสามพระองค์ เเต่คติการสร้างคนละความหมายกับพระ"ตรีกาย" เนื่องจากเมืองหริภุญไชยขณะนั้นนับถือพระพุทธศาสนาเเบบเถรวาท เเต่ส่วนตัวผมเชื่อว่าการสร้างพระพิมพ์โดยใช้รูปแบบเดียวกันกับพระตรีกายก็ได้ เเล้วมาตีความหมายใหม่ให้เป็นเเบบเถรวาท
- ศิลปะแบบหริภุญไชย โดยได้รับอิทธิพลจากศิลปะเขมรหรือศิลปะลพบุรี โดยรูปแบบอาจมาจากพระพิมพ์ตรีกายประทับในซุ้มปรางค์แบบเขมรหรือลพบุรี เเละปรับเปลี่ยนตัวปราสาทเป็นเเบบศิลปะหริภุญไชย
- การกำหนดอายุ ข้อมูลของกรมศิลปากรให้ได้ข้อมูลว่า อยู่ในช่วงสมัยหริภุญไชย พุทธศตวรรษที่ ๑๗ - ๑๘ เเละนักประวัติศาสตร์ศิลปะก็สันนิฐานว่าไม่เก่าไปกว่าพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ซึ่งสอดคล้องกับจารึกที่พบในวัดเก่าของเมืองลำพูนที่ระบุศักราชไว้ช่วงนั้นเช่นกัน เช่น จารึกวัดดอนแก้ว มีใจความว่า "พระเจ้าสววาธิสิทธิ ทรงได้สร้างวัดนี้ คือ เชตวัน(อาจเป็นชื่อวัดดอนแก้วในยุคนั้น) ในปี พ.ศ.1762 เมื่ออายุ 26 ปี" ดังนั้นจึงเชื่อว่าการสร้างพระพิมพ์อาจอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าว คือมีอายุประมาณ 800 ปี ซึ่งอาจรวมไปถึงพระพิมพ์อื่นๆ เช่น พระรอด พระคง พระเปิม ด้วย
-อนึ่ง หลักฐานทางโบราณคดีเเละการสร้างพระพิมพ์ต่างๆในเมืองลำพูนเชื่อว่าไม่น่าจะเชื่อมโยงไปถึงพระนางจามเทวี เเละเอกสารเก่าสุดที่ได้กล่าวถึงพระนางจามเทวี คือ จามเทวีวงศ์ สันนิษฐานว่ารจนาราว พ.ศ. 1950 ถึง 2060 โดยเล่าย้อนไปถึงยุคของพระนางจามเทวีประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งห่างจากช่วงเวลาที่ประพันธ์ในเอกสารจามเทวีวงศ์ ประมาณ 800 ปี อีกทั้งเรื่องราวในการประพันธ์ ออกไปในเเนวเรื่องเล่า,ตำนาน,อิทธิปาฎิหารย์ ใช้อ้างอิงได้เพียงส่วนหนึ่งเท่านั้นครับ
- ขอขอบคุณข้อมูล ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ขอขอบคุณข้อมูลจาก กลุ่มงานเผยเเพร่เเละประชาสัมพันธ์ กรมศิลปากร
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
669 ครั้ง
สถานะ
บูชาแล้ว
โดย
swat
ชื่อร้าน
สุรินทร์ภักดี พระเครื่อง
URL
http://www.surinpakdee.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0870081414
ID LINE
surinphakdee
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 686-2-299xx-x
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี